น้ำมันปลา

น้ำมันปลา กิฟฟารีน ปวดข้อปวดเข่า บำรุงสมอง เพิ่มความจำ

น้ำมันปลา กิฟฟารีน  อาหารเสริม บำรุงสมอง เสริมความจำ

น้ำมันปลา

น้ำมันปลา หรือ น้ำมันตับปลา เป็นไขมันที่ได้จากส่วนต่าง ๆ ของปลาที่มีไขมันสูง น้ำมันปลามี กรดไขมันโอเมกา 3 eicosapentaenoicacid(EPA)และdocosahexaenoic acid (DHA) ซึ่งล้วนเป็นสารตั้งต้นของ eicosanoid ที่พบว่า ลดการอักเสบใร่างกาย และมีผลดีต่อสุขภาพอื่น ๆ เช่น เพื่อรักษาภาวะเลือดมีไตรกลีเซอไรด์สูง (hypertriglyceridemia) แม้คำโฆษณาว่าช่วยป้องกันกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดหรือโรคหลอดเลือดสมองจะไม่มีหลักฐาน มีการศึกษาน้ำมันปลาและกรดไขมันโอเมกา-3 เกี่ยวกับภาวะโรคอื่น ๆ มากมาย เช่น โรคซึมเศร้า ,โรควิตกกังวล,มะเร็ง และโรคจุดภาพชัดของจอตาเสื่อม

น้ำมันปลา

สารประกอบสำคัญของ น้ำมันปลา 

น้ำมันปลา เป็นสารประกอบของกรดไขมัน ที่ร่างกายไม่สามารถสร้างเองได้ ซึ่งอยู่ในกลุ่มของโอเมก้า-3 มี 2 ชนิด ได้แก่

  1. EPA (Eicosapentaenoic Acid)มี คุณสมบัติในการลดไตรกลีเซอร์ไรด์ในเลือด พร้อมทั้งป้องกันการอุดตันของหลอดเลือด และยังป้องกันการเกาะตัวของเกล็ดเลือด ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของโรคสมองขาดเลือด และโรคที่เกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
  2. DHA (Docosahexaenoic Acid)
    เป็นส่วนประกอบสำคัญของสมองและดวงตา ช่วยเสริมสร้างพัฒนาการทางสมอง การเรียนรู้ ความจำ ตลอดจนระบบสายตา ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
น้ำมันปลา
น้ำมันปลา

Omega-3 (โอเมก้า-3) เหมาะกับใครบ้าง

  • ผู้สูงอายุ เพื่อป้องกันโรคหัวใจและโรคความจำเสื่อม
  • ผู้ที่มีปริมาณ Cholesterol สูง
  • ผู้ที่ต้องทำงานใช้ความคิด วิเคราะห์อยู่ตลอดเวลา
ประโยชน์ น้ำมันปลา
โอเมก้า น้ำมันปลา

ประโยชน์ของ น้ำมันปลา

  1. ช่วยบำรุงสุขภาพผิว เส้นผม และเล็บให้มีสุขภาพดี
  2. น้ํามันปลาช่วยบำรุงประสาทและสมอง ช่วยเพิ่มความจำและความสามารถในการเรียนรู้
  3. ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและไตรกรีเซอไรด์ที่เป็นอันตราย
  4. ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจวายเฉียบพลัน
  5. ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง
  6. ช่วยลดความเสี่ยงจากการเกิดเส้นเลือดในสมองแตก
  7. น้ํามันปลาช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดแดงแข็งตัว
  8. ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดในกระแสเลือด เพราะไปลดความหนืดของเกล็ดเลือดและลดปริมาณสารไฟบรินในเลือด
  9. ช่วยรักษาและลดความเสี่ยงของโรคมะเร็งเต้านม
  10. ช่วยบรรเทาอาการคันและแห้งของโรคสะเก็ดเงิน
น้ำมันปลา

น้ำมันปลา 500 มก.

ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล:
ใน 1 แคปซูล มีน้ำมันปลา 500มก.

  • วิตามินอี (1200 หน่วยสากล/กรัม)                           2,080 มก.
  • ประกอบด้วยกรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (EPA)            90 มก.
  • กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิก (DHA)                                60 มก.

ขนาด 500 มก. บรรจุ 50 แคปซูล
ราคา : 200 บาท

ขนาด 500 มก. บรรจุ 90 แคปซูล
ราคา : 320 บาท

น้ำมันปลา 1000 มก.

วิธีรับประทาน : วันละ 1 แคปซูล พร้อมอาหาร

ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 แคปซูล:
ใน 1 แคปซูล มีน้ำมันปลา 1,000มก

  • วิตามินอี (1200 หน่วยสากล/กรัม)                                4,160 มก.
  • ประกอบด้วยกรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (EPA)                   180 มก.
  • กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิก (DHA)                                   120 มก.

ขนาด 1000 มก. บรรจุ 50 แคปซูล
ราคา : 350 บาท

ขนาด 1000 มก. บรรจุ 90 แคปซูล
ราคา : 540 บาท

น้ำมันปลา

รหัส 40117 ขนาดบรรจุ 30 แคปซูล ราคา 620 บาท
รหัส 40118 ขนาดบรรจุ 60 แคปซูล ราคา 1,060 บาท

ส่วนประกอบที่สำคัญโดยประมาณใน 1 เม็ด ใน 1 แคปซูลมี น้ำมันปลา 1,000 มก. ประกอบด้วย
  1. กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง
  2. กรดไอโคซาเพนทาอีโนอิก (อีพีเอ) 100 มก.
  3. กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิก (ดีเอชเอ) 500 มก.

คำเตือน: ข้อห้ามในการ รับทาน 

  • ผู้ที่กำลังรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด (เช่น คูมาดิน เฮปาริน) ไม่ควรรับประทานโอเมก้า-3 หรือควรปรึกษาแพทย์ก่อนรับประทาน
  • ผู้ที่มีภาวะความดันต่ำ ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานน้ำปลา เพราะน้ำปลาจะลดความดันของคุณให้ต่ำลงไปอีก

!สั่งซื้อออนไลน์ได้แล้ววันนี้

​!ส่งถึงหน้าบ้าน !มีเก็บปลายทาง

​ติดต่อสอบถามสั่งซื้อรับส่วนลด

line@
Tel.0835604800 

Line : shareyonsk


กิฟฟารีน ได้นำมาผลิตภายใต้มาตรฐาน GMP  ผ่านการตรวจวิเคราะห์แล้วว่าปลอดเชื้อโรคปลอดสารพิษปลอดโลหะหนักจึง ปลอดภัย100%

กิฟฟารีน
กิฟฟารีน

น้ำมันตับปลา กับ น้ำมันปลาต่างกันอย่างไร

น้ำมันปลา

น้ำมันตับปลา (Cod liver oil) สกัดจากตับของปลาทะเล นิยมรับประทานเพื่อเสริมวิตามินเอ ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมเยื่อบุผิวให้เป็นปกติ นอกจากนี้ยังมีวิตามินดี ที่ช่วยในการดูดซึมแคลเซียมรวมทั้งฟอสฟอรัสบริเวณลำไส้เข้าสู่ร่างกาย ทำให้การสร้างกระดูกเป็นไปอย่างปกติ แต่หากได้รับวิตามินเกินขนาด โดยเฉพาะวิตามินเอและดี ก็อาจเกิดพิษจาก การสะสมวิตามินเกินความจำเป็น โดยมีอาการความดันในสมองสูง ปวดศีรษะ หิวน้ำ และปัสสาวะบ่อย ฯลฯ

น้ำมันปลา (fish oil) เป็นน้ำมันที่สกัดจากเนื้อ หนัง หัว และหางปลาทะเล อาทิ ปลาซาร์ดีน ปลาเฮอร์ริ่ง ปลาแมคคอเรล ปลาแซลมอน ปลาทูน่า น้ำมันปลามีกรดไขมันที่ร่างกายคนเราไม่สามารถสร้างเองได้ โดยเป็นกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว (Polyunsaturated Fatty Acid) หรือ PUFA 2 ชนิด ในกลุ่มโอเมก้า 3 คือ

– Eicosapentaenoic acid (EPA)
– Docosahexaenoic acid (DHA)

ปัจจุบัน วงการแพทย์ให้ความสนใจถึงความสัมพันธ์ของน้ำมันปลากับโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งกำลังเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ และสาเหตุการเกดโรคก็มาจากการที่หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจไหลเวียนไม่สะดวกเพราะผนังหลอดเลือดหนาและแข็งขึ้นจากการเกาะตัวของโคเลสเตอรอล การอุดตันของเกร็ดเลือดที่รวมตัวกันส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดมาเลี้ยง บางรายที่อาการรุนแรงอาจเสียชีวิตได้

ดังนั้นผู้ป่วยโรคนี้ จึงมักได้รับคำแนะนำจากแพทย์ให้รับประทานน้ำมันปลา เพราะมีส่วนช่วยลดระดับไขมันในเลือด และยังช่วยลดการเกาะตัวของเกร็ดเลือด ทำให้การไหลเวียนของเลือดดีขึ้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ช่วยลดปัญหาโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดได้เป็นอย่างดี

เอกสารอ้างอิง

1. Robert Oh. Practical Applications of Fish oil (omega-3 fatty acids) in Primary Care. J Am Board Farm Pract 2005;18:28-36

2. A Diet Enriched with the Omega-3 Fatty Acid Docosahexaenoic Acid Reduces Amyloid Burden in an Aged Alzheimer Mouse Model.The Journal of Neuroscience, March 23,2005;25(12):3032-3040

3. ทางเลือกในการพัฒนาสมองด้วยสาร DHA โดย สิงหะเนติ, สรวงสุดา 2541 สาร DHA ทางเลือกในการพัฒนาสมอง วิทยาศาสตร์และโทคโนโลยี 13(2)พค.-สค. (ออนไลน์): http://www.school.net.th/library/snet4/anatomy/dha.htm

4. Expression of Amyloid-Beta and Interleukin-13 Recombinant Protein in Escherichia coli . National Graduate Research Conference Nokhon Ratchasima Rajabhat University.

5. Risk factors: Alzheimer’s association [Internet]. 2008 :[about 5 p.].Available from: http://www.alz.org/alzheimers_disease_causes_risk_factors.asp

6. การพัฒนาโปรแกรมตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคอัลไซเมอร์ได้ด้วยสมาร์ทโฟน : สำนักงานสารนิเทศและประชาสัมพันธ์ กระทรวงสาธารณสุข (ออนไลน์). กุมภาพันธ์ 2556 : 1หน้า : http://203.157.19.14/iprg/include/admin_hotnew/show_hotnew.php?idHot_new=53497

7. Omega- 3 fatty acids and dementia. Prostaglandins Leukot Essent Fatty Acids. Aug-Sep 2009;81(2-3):213-21.

8. Omega-3 Fatty Acid Docosahexaenoic Acid Increases SorLA/LR11, a Sorting Protein with Reduced Expression in Sporadic Alzheimer’s Disease (AD): Relevance to AD Prevention. J Neurosci, December 26,2007;27(52):14299-14307.

9. Beneficial effects of docosahexaenoic acid on cognition in age- related cognitive decline. Alzheimer’s & Dementia: The journal of the Alzheimer’s association, November 2010, Volume 6, Issue 6, Pages 456-464.

10. DHA May Prevent Age-Related Dementia. J Nutr. April 2010; 140(4):869-874.

11. ประโยชน์ของน้ำมันปลา ( Fish Oil) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(ออนไลน์). http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/17557

12. Eicosapentaenoic and docosahexaenoic acids, cognition, and behavior in children with attention-deficit/hyperactivity disorder: a randomized controlled trial. Nutrition, June 2012; 28(6):670-7.

13. Impact of nutrition on serum levels of docosahexaenoic acid among Omani children with autism. Nutrition,June 2013; S0899-9007(13)00196-2.

%d bloggers like this: